ไม่พบผลการค้นหา
ทำไมประเทศไทยจึงได้ชื่อว่าเป็น “ซ่อง”ของโลก
เมืองออกแบบได้
บทเรียนของเทย์เลอร์รีพอร์ตเปรียบกับรายงานคอป.
รักแท้ ช็อกโกแลตและวันวาเลนไทน์
วรรณยุกต์ในภาษาไทยมีมาแต่โบราณการจริงหรือ?
อดีต ปัจจุบันและอนาคตของเชียงใหม่
ความเป็นไปได้ของการเคหะมวลชนในสังคมไทย
อะไรคือ 'โอตาคุ'
เพลงป๊อปกับอารมณ์ร่วมสมัย
วิวาทะ แฟนเพจ
COSPLAY คืออะไร
ความจำเป็นของผลิตภัณฑ์เพื่อจุดซ่อนเร้นสำหรับผู้หญิง
บัญญัติ 10 ประการที่จะนำพรรคประชาธิปัตย์กลับมาสู่ความรุ่งโรจน์
ที่มาของเทพนิยาย
นางสาวสยาม สตรีผู้เป็นศรีสง่าแห่งรัฐธรรมนูญ
มนุษย์ไม่ได้เกิดมาเพื่อที่จะรักเดียวใจเดียว
คิดเล่นเห็นต่างกับคำผกา Special in Chiang Mai
พื้นที่ของเพศทางเลือกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ม่านรูด ทำไมจึงต้องรูดม่าน?
รัฐไทยไม่เคยแทรกแซงตลาดการค้าข้าวจริง?
จาก OVOP ถึง OTOP
May 27, 2012 12:05

รายการ คิดเล่นเห็นต่างกับคำผกา  27 พฤษภาคม 2555 

 
 
สวัสดีค่ะ รายการคิดเล่นเห็นต่างในค่ำคืนนี้ เราจะพาทุกท่านไปรู้จักกับต้นแบบของโครงการOTOP โครงการเด่นที่ช่วยยกระดับความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้สามารถมีรายได้ที่เพิ่มมากขึ้น และโครงการต้นแบบของOTOPนั้นก็คือโครงการหนึ่งหมู่บ้าน หนึ่งผลิตภัณฑ์ (One Village One Product –OVOP) 
    
 
โครงการOVOP เกิดขึ้นครั้งแรกในญี่ปุ่น นั่นคือเมืองโออิตะ ซึ่งเป็นจังหวัดเล็กๆ ทางตอนใต้ บนเกาะคิวชู ชาวบ้านที่นั่นได้รวมตัวกัน ริเริ่มโครงการ บ๊วยใหม่และเกาลัด เป็นโครงการส่งเสริมการเพาะปลูกบ๊วยและเกาลัดในรูปแบบการเกษตรผสมผสาน สำหรับหมู่บ้านโอยามาที่เป็นต้นแบบของโออิตะ มีผลิตภัณฑ์กว่า 100 ชนิด จนได้ชื่อว่า One Village Hundred Products 
 
 
ซึ่งประกอบด้วยสินค้าเกษตรขั้นพื้นฐาน เช่น เห็ด ผัก ต่างๆ จนกระทั่งถึงผลิตภัณฑ์ อาหารแปรรูป เช่น ขนมปัง ไส้กรอก สมุนไพรแปรรูป ...และยังมีร้านค้าริมทาง Kanohana Garden ซึ่งขายสินค้าชุมชนให้กับผู้บริโภค โดยเฉพาะนักท่องเที่ยว และรับซื้อสินค้าชุมชนจากคนในชุมชนและชุมชนอื่นๆ ร้านค้าริมทางเป็นจุดที่ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ซื้อและ ผู้ขายด้วย 
    
 
 ติดตามเรื่องราวนี้ต่อได้ในตอนจาก OVOP ถึง OTOP คืนนี้ค่ะ ทางวอยซ์ทีวี
 
 
Produced by VoiceTV
Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
184Article
76559Video
0Blog