ไม่พบผลการค้นหา
World Trend - นาซาส่งยานสำรวจชั้นหินดาวอังคารเป็นครั้งแรก - Short Clip
World Trend - การสัญจรทางอากาศจะเพิ่มขึ้น 2 เท่าในปี 2037 - Short Clip
World Trend - กล้องสำรวจดาวเคราะห์ ‘เคปเลอร์’ เชื้อเพลิงหมด - Short Clip
World Trend - 'นาซา' ตำหนิอินเดีย ทำ ISS เสี่ยงชนเศษดาวเทียม - Short Clip
World Trend - คนอ้วนวัย 20-39 ปีเสี่ยงอายุสั้นลง 10 ปี - Short Clip
World Trend - กลุ่มประเทศ UN ตั้งเป้าลดพลาสติกภายในปี 2030 - Short Clip
World Trend - รัฐสภายุโรปผลักดันให้แบนพลาสติกใช้แล้วทิ้ง - Short Clip
World Trend - เอธิโอเปียเล็งผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะ- Short Clip
World Trend - 'รัสเซีย-สหรัฐฯ' เตรียมจับมือสำรวจดาวศุกร์ - Short Clip
World Trend - ญี่ปุ่นกลับมาล่าวาฬอีกครั้ง ในรอบ 33 ปี - Short Clip
World Trend - อินเดียเปิดตัวอนุสาวรีย์ที่สูงที่สุดในโลก - Short Clip
World Trend - ความนิยม 'หุ่นยนต์' ในจีน- Short Clip
World Trend - ดาวอังคารโคจรใกล้โลกที่สุดในรอบ 15 ปี - Short Clip
World Trend - นาซา คิดค้นฉนวนกันร้อน หวังนำมนุษย์สำรวจดาวอังคาร - Short Clip
World Trend - อินเดียเตรียมเปิดไฮเปอร์ลูปปี 2021 - Short Clip
World Trend - นาซาค้นพบ ‘สารอินทรีย์โบราณ’ บนดาวอังคาร - Short Clip
ฝรั่งเศสแบนถ้วย-จานพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง
World Trend - นาซาปล่อยดาวเทียมสำรวจดาวเคราะห์นอกระบบ - Short Clip
World Trend - WWF เผยสัตว์ป่าทั่วโลกลดลง 60% ในช่วง 50 ปี - Short Clip
World Trend - มหาวิทยาลัยแคนาดาเปิดหลักสูตรปลูกกัญชา - Short Clip
World Trend - นาซาส่งยาน ‘เบพิโคลอมโบ’ สำรวจดาวพุธ - Short Clip
Oct 22, 2018 16:32

การสำรวจดาวพุธถือเป็นเรื่องยากลำบากเป็นอย่างมาก โดยก่อนหน้านี้มีการส่งยานไปสำรวจเพียงสองครั้งเท่านั้น แต่ล่าสุด องค์การนาซาได้ส่งยานไปสำรวจดาวพุธเป็นครั้งที่สาม เพื่อที่จะศึกษาถึงที่มาของระบบสุริยะจักรวาล

‘เบพิโคลอมโบ (BepiColombo)’ เป็นยานอวกาศลำที่สามที่องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ หรือ นาซา ได้ส่งไปปฏิบัติภารกิจสำรวจดาวพุธ พร้อมกับกับจรวดอารีอาน (Ariane) เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา (20 ต.ค.) ที่เฟรนช์เกียนา 

โดยดาวพุธถือเป็นดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาลที่ได้รับการสำรวจน้อยมาก เนื่องจากดาวอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เพียง 60 ล้านกิโลเมตรเท่านั้น ขณะที่โลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 150 ล้านกิโลเมตร การเดินทางไปสำรวจดาวพุธจึงถือเป็นเรื่องท้าทายมาก เพราะอุณหภูมิพื้นผิวบนดาวอาจจะขึ้นไปสูงกว่า 400 เซลเซียสได้ในช่วงกลางวัน และในช่วงเวลากลางคืน อุณหภูมิอาจดิ่งลงถึงติดลบ 170 เซลเซียส

สำหรับเบพิโคลอมโบเกิดจากความร่วมมือของยุโรปและญี่ปุ่น ซึ่งตั้งชื่อตามนักคณิตศาสตร์และวิศวกรชาวอิตาลีที่ชื่อ ‘จูเซปเป โคลอมโบ (Giuseppe Colombo)’ โดยจะใช้เวลาเดินทางไปดาวพุธประมาณ 7 ปี และคาดว่าจะเข้าสู่วงโคจรดาวพุธในเดือนธันวาคมปี 2025 เพื่อศึกษาส่วนประกอบของดาวพุธ รวมถึงกำเนิดและพัฒนาการของระบบสุริยะจักรวาลต่อไป

Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
185Article
76559Video
0Blog